Page 42 - Annual Report Thai 2018
P. 42

บริษัท ไทยคูน เวิลดไวด กรุป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)


                           6.  พิจารณาแผนการลงทุนขยายงาน หรือธุรกิจใหมในขั้นตน รวมทั้งการไดมา/จําหนายไปของสินทรัพยในมูลคาเกิน
                              กวา 50 ลานบาท กอนเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ
                           7.  พิจารณาเสนอการใชจายวงเงินงบประมาณ เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ

                           8.  พิจารณาความดี ความชอบ แตงตั้ง โยกยาย ลงโทษ เลิกจางหรือจัดจางผูจัดการ
                           9.  ปฏิบัติงานและดําเนินกิจการใหเปนไปตามนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของคณะกรรมการบริษัท
                           10. ปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท
                           11. อํานาจอนุมัติตางๆ ที่กลาวมา ยกเวนการมอบอํานาจดําเนินการอนุมัติเกี่ยวกับรายการระหวางกัน ตามนิยาม

                              ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.)
                           12. มีอํานาจพิจารณาการกูยืม หรือใหกูยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆจากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการเขาเปน
                              ผูค้ําประกัน กรรมการผูจัดการใหญจะเปนผูเสนอการอนุมัติรายการตามที่กลาวมาขางตน ตอคณะกรรมการ

                              บริหาร และ/หรือคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติ โดยเฉพาะเงินกูเพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนจะไดรับอนุมัติ
                              จากคณะกรรมการบริหารแตเพียงผูเดียว

                           8.3 การสรรหากรรมการ


                              การคัดเลือกบุคคลที่จะแตงตั้งเปนกรรมการของบริษัท ไมไดผานขั้นตอนของคณะกรรมการสรรหา (Nominating
                              Committee) อยางไรก็ตาม บริษัทไดกําหนดแนวทางในการแตงตั้งกรรมการบริษัทดังนี้


                              1.  กรรมการของบริษัทตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทตลอดจน
                                  มติของที่ประชุมผูถือหุน
                              2.  ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตําแหนงจํานวนหนึ่งในสามเปนอัตรา ถาจํานวน
                                  กรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม

                              3.  กรรมการซึ่งจะลาออกระหวางปที่ 1 และ 2 จะตัดสินโดยใชวิธีจับฉลาก ในปตอๆไป กรรมการซึ่งจะลาออก
                                  จะพิจารณาจากระยะเวลาการทํางานที่ยาวนานที่สุด แตสามารถกลับมาอยูในตําแหนงในปถัดไป
                              4.  ในกรณีที่การประชุมผูถือหุนมีมติใหกรรมการคนใดคนหนึ่งออกจากตําแหนงกอนถึงกําหนดตามวาระดวย

                                  คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียงและมีหุนนับรวมกัน
                                  ได ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
                              5.  ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง
                              6.  ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (5) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปน

                                  กรรมการก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได
                              7.  จํานวนกรรมการจะไดรับการแตงตั้ง เปนสัดสวนเดียวกับคะแนนเสียง หากคะแนนเสียงของกรรมการเทากัน
                                  ประธานกรรมการจะเปนผูตัดสินชี้ขาด

                                  การแตงตั้งกรรมการผูจัดการใหญของบริษัทตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ และ ผูบริหารของบริษัท
                                  ไดรับการแตงตั้งจากกรรมการผูจัดการใหญ




                                                                 37
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47