Page 13 - Annual Report Thai 2018
P. 13

บริษัท ไทยคูน เวิลดไวด กรุป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

                           คลองตัวในการปฏิบัติงาน โครงการที่เปดตัวเมื่อปลายป 2561 ประกอบดวย : โครงการทาอากาศยานสนามบิน
                           นานาชาติอูตะเภา โครงการเครือขายเชื่อมตอรถไฟความเร็วสูงของสนามบินนานาชาติทั้งสามแหง โครงการทาเรือน้ํา

                           ลึกแหลมฉบังระยะที่สามและการขยายทาเรือมาบตาพุดการกอสรางรถไฟรางคู 6 เสนทางในเขต EEC และทางดวน
                           ชลบุรี - พัทยา – มาบตาพุด โครงการ EEC อื่น ๆ เชนศูนยซอมบํารุงอากาศยานที่อูตะเภา และเครือขายรถไฟ
                           ความเร็วสูงกรุงเทพ - ระยอง คาดวาโครงสรางพื้นฐานจะคอยๆเขาสูชวงการกอสรางหลังจากชวงครึ่งหลังของป 2562

                           ความตองการใชเหล็กคาดวาจะเติบโตอยางตอเนื่อง และคาดหวังการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและแนวโนมของ
                           ตลาดเหล็กในประเทศไทยคาดวาจะเจริญรุงเรืองในอนาคต


                              บริษัทในเครือ บริษัท ไทยคูนฯ  “บริษัท ทีวาย สตีส จํากัด” หลังจากที่เตาหลอมเหล็กไฟฟาของโรงหลอมไดเริ่ม

                           ดําเนินการผลิตอยางเปนทางการในเดือน กันยายน 2557 เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพกําลังการผลิตโดยรวมของเตา
                           หลอมไฟฟา และตอบสนองความตองการดานผลิตภัณฑไดมากยึ่งขึ้น ในป 2559 จึงไดดําเนินการวางแผนกอสรางโรง
                           ผลิตรีดเหล็กเสนเสริมคอนกรีตโดยตรงเปนโรงงานแหงแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตขึ้น  ในการดําเนินการ
                           ผลิตเหล็กเสนเสริมคอนกรีตเหล็กขอออยสําหรับใชในงานการกอสราง โดยมีปริมาณการผลิตตอปราว 6 แสนตัน ซึ่งได

                           เริ่มทําการทดลองการผลิตในเดือนธันวาคม 2560 และเริ่มดําเนินการผลิตและขายเหล็กขอออยในเดือนมกราคม พ.ศ.
                           2561 พรอมดวยใบอนุญาตไดรับการรับรองมาตรฐานใหมจาก สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมTISI โดย
                           ทําการประสานงานกับสายการผลิตรีดเหล็กลวดที่มีอยูเดิมของบรษัท ไทยคูนฯ ซึ่งจะทําใหสามารถทําการผลิต

                           ผลิตภัณฑเหล็ก ที่ตอบสนองความตองการงานการกอสรางวิศวกรรมฐานรากของประเทศไทยและประเทศตางๆใน
                           ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

                              สายการผลิตเหล็กเสนเสริมคอนกรีตของบริษัท ทีวาย สตีล จํากัด เนื่องจากการผลิตเหล็กเสนเสริมคอนกรีตเปน

                           รูปแบบการผลิตที่เปน “ กระบวนการรีดและกระบวนการหลอมอยูภายในโรงงานหลังคาเดียวกัน “  หลังจากที่
                           ผลิตภัณฑเหล็กแทงที่ผลิตออกจากสายการผลิตจะถูกสงเขาไปยังไลนรีดเหล็กเสนเสริมคอนกรีตโดยตรงทันที ซึ่งจะ
                           สามารถลดตนทุนในการเพิ่มความรอน และการขนสงไดอยางมีประสิทธิผล ทําใหตนทุนการผลิตลดลงอยางมากเมื่อ

                           เปรียบเทียบกับโรงรีดเหล็กแบบเกาที่มีอยูในประเทศไทย และเปนโรงงานเดียวในประเทศไทยที่มีรูปแบบการผลิตที่
                           เปน “ กระบวนการรีดและกระบวนการหลอมอยูภายในโรงงานหลังคาเดียวกัน “   การเพิ่มสายการผลิตเหล็กเสนเสริม
                           คอนกรีตจะชวยเพิ่มอัตราการใชกําลังการผลิตของเหล็กแทง ลดตนทุนการผลิตตอหนวยดวยอัตราการใชกําลังการ
                           ผลิตที่เพิ่มขึ้นหมายความถึงปริมาณการใชเศษเหล็กที่เพิ่มมากขึ้นดวยเชนกัน ในสถานการณที่เศษเหล็ก

                           ภายในประเทศมีขอจํากัดนี้ จึงทําใหบริษัท ทีวาย สตีล จํากัด มีอํานาจในการตอรองราคาการรับซื้อเศษเหล็ก อีกทั้งยัง
                           ไดมีการคิดคนบรรจุภัณฑขนาดมัดเล็กในการบรรจุเพื่อความสะดวกในการใชงานของลูกคา ทําใหความสามารถใน
                           การแขงขันทางการตลาดเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับ ประกาศของรัฐบาลไทยเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559 วาดวย จากนี้

                           ไปเหล็กเสนเสริมคอนกรีตที่ใชในงานการกอสรางจะตองผานการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศไทยตาม
                           (มอก.) ฉบับลาสุด หามมิใหทําการเติมธาตุโลหะผสมลงในผลิตภัณฑเหล็กเสนเสริมคอนกรีตและเหล็กลวดที่ใชใน
                           งานการกอสราง โดยนโยบายดังกลาวนี้จะมีผลในการปองกันการนําเขาเหล็กเสนเสริมคอนกรีตที่มีธาตุโลหะผสมจาก
                           ประเทศจีน และในขณะเดียวกันยังสามารถยับยั้งการทุมตลาดเหล็กแทงราคาต่ําของประเทศจีนไดอีกดวย ซึ่งเอื้อตอ

                           การพัฒนาตลาดของบริษัท ไทยคูนฯ  และ บริษัทยอย



                                                                  11
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18