Page 12 - Annual Report Thai 2018
P. 12

บริษัท ไทยคูน เวิลดไวด กรุป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

                           จีนทําใหประเทศจีนเปนคูแขงรายใหญของบริษัทไทยคูนฯอีกครั้งในตลาดยุโรปสงผลตอยอดขายของผลิตภัณฑไดรับ
                           ผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได  โดยที่ บริษัท มีรากฐานในตลาดยุโรปเปนเวลาหลายปนอกจากนี้ยังไดการยอมรับและ

                           เปนที่รูจักกันสําหรับผลิตภัณฑที่มีคุณภาพสูงและการสงมอบตรงเวลาดังนั้นจึงไมใชเรื่องงายดายที่จะถูกผูผลิตสินคา
                           ราคาถูกจากประเทศจีนมาแทนที่ นอกจากนี้หากประเทศจีนไดทําการนําเอาสินคาราคาถูกไปทุมตลาดในยุโรปอีกครั้ง
                           ผูผลิตสกรูยุโรปมีโอกาสที่ดีอีกครั้งเพื่อที่นําเสนอขอรองเรียนตอบโตการทุมตลาด

                                       นอกจากนี้ เนื่องจากรายไดประชากรมวลรวม (GDP) ของไทยบรรลุเกณฑที่กําหนดไว ดังนั้น EU จึงไดยกเลิก
                           สิทธิประโยชนทางการคา GSP (Form A)ของประเทศไทยทําใหจะไมไดรับสิทธิประโยชนในการลดหยอนภาษีนําเขา
                           อีก แตประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน  ประเทศเวียดนามและอินโดนีเซียจะยังคงไดรับสิทธิประโยชน

                           ดังกลาวอยู ดังนั้น จึงสงผลกระทบถึงการแขงขันและผลประโยชนตอผลิตภัณฑของโรงงานที่อยูปลายน้ําจากการ
                           จําหนายผลิตภัณฑไปยังยุโรปของผูประกอบการปลายน้ําอีกดวย ซึ่งก็จะไมคอยสงผลกระทบตอปริมาณการขายของ
                           บริษัท

                                       ในป 2558 เดือนกันยายน  รัฐบาลไทยไดทําการกําหนดออกมาตรการ ตอบโตการทุมตลาดสินคาเหล็กลวด
                           คารบอนต่ําที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยกําหนดใหเรียกเก็บอากรชั่วคราวหรือหลักประกันการ

                           ชําระอากรชั่วคราวจากการนําเขาสินคาดังกลาวในอัตรารอยละ 15.59 – 33.55 ในป 2559 เดือนมีนาคมไดมีคํา
                           วินิจฉัยชั้นที่สุด ใหเรียกเก็บอากรจากการนําเขาสินคาดังกลาวในอัตรารอยละ12.81 – 31.51 ที่ไมเทากันเปนกําหนด
                           ระยะเวลา 5 ป ซึ่งจะชวยรักษาเสถียรภาพของราคาเหล็กลวดในประเทศ แตยังคงมี ผูนําเขาอาศัยชองทางโดยการ
                           เปลี่ยนชื่อผลิตภัณฑในการนําเขามาประเทศไทย เปนการหลบเลี่ยงภาษีนําเขาตามประกาศของรัฐบาลไทย โดยเริ่ม

                           ตั้งแตป 2560 นี้ ศุลกากรจะเพิ่มความเขมงวดในการตรวจสอบของการนําเขา   เพื่อปองกันไมใหมีการนําเขา เหล็ก
                           ลวดคารบอนต่ําเปนจํานวนมาก   เพื่อปกปองผูผลิตภายในประเทศไมใหรับความเสียหายจากการทุมตลาดสินคา

                           ผลิตภัณฑราคาต่ําจากประเทศจีน  ยอมสงผลการพัฒนาที่ดีตออุตสาหกรรมเหล็กในประเทศ  นอกจากนี้รัฐบาลไทย
                           ไดประกาศผลการพิจารณาทบทวนมาตรการตอบโตการทุมตลาดอีกในเดือนสิงหาคม 2560 ซึ่งไดขยายขอบเขต
                           มาตรการการตอบโตการทุมตลาดโดยเพิ่มขอบังคับเกี่ยวกับอัตราสวนการเจือธาตุโลหะอื่น  ในสวนของผลิตภัณฑ

                           เหล็กลวดที่บริษัทสงขายไปยังตางประเทศสวนใหญเปนสินคาที่มีคุณภาพสูง เหมาะสําหรับการผลิตผลิตภัณฑสลัก
                           ภัณฑ  ตลาดขายหลักเปนของตลาดในไตหวัน  โดยมี TGE เปนผูแทนจําหนายของบริษัทในตลาดไตหวัน (โดยที่
                           บริษัท ไมไดทําการขายตรงเอง ) ตอนนี้มีกลุมลูกคาที่มั่นคงในตลาดและจะยังคงรักษาตลาดกลุมลูกคานี้ไว

                           เหมือนเดิม

                           การยกระดับในภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนภาครัฐในโครงสร้างพื้นฐาน

                                ในชวงกลางป 2559 รัฐบาลไทยไดชูนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจ  "ประเทศไทยสูยุคไทยแลนด 4.0"  ซึ่ง
                           เปนโครงการแผนการพัฒนาเศรษฐกิจตั้งแตป 2560-2579 คาบเกี่ยวถึงเวลาในอนาคถึง 20 ปขางหนาของการ

                           ยกระดับพิมพเขียวการวางแผนการพัฒนาอุตสาหกรรม มีการวางแผนใน 6 พื้นที่สําคัญหลักและ 10 ประเภท
                           อุตสาหกรรมเปนที่นิยม คาดวาภายใน 8 ปจะมีการลงทุนของภาครัฐในโครงสรางพื้นฐานอยางนอยเปนวงเงินลงทุน
                           กวาสามลานลานบาทเพื่อรองรับการขยายตัวที่สําคัญของทางรถไฟ, ทางหลวงและโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญอื่น ๆ
                           โดย มีจุดมุงหมายเพื่อลดตนทุนโลจิสติกเพื่อดึงดูดนักลงทุนในการพัฒนาเศรษฐกิจของภาคตะวันออก (EEC)โครงการ

                           ระเบียงเขตเศรษฐกิจของภาคตะวันออก เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันระดับชาติ  ในการที่จะเรงดําเนิน
                           โครงการ EEC ซึ่งเปนโครงการที่สําคัญ โดยรัฐบาลไทยไดมีการเรียกใชอํานาจตามมาตรา 44เพื่อใหเจาหนาที่มีความ

                                                                  10
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17